ตั้งอยู่ตำบลเวียง อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เป็นหนึ่งในวัดพระธาตุ 9 จอมของจังหวัดเชียงราย
สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2530 เกิดขึ้นจากแนวคิด เพื่อระลึกถึงสะดือเมืองที่พญามังรายเคยกำหนดไว้ในพื้นที่ยอดดอยจอมทอง
กลุ่มชาวจีนโพ้นทะเลที่เขามาอาศัยในเมืองเชียงราย มีความศรัทธาต่อเจ้าพ่อดอยจอมทองและมีบทบาทสำคัญในการบูรณปฏิสังขรณ์ เดิมศาลดังกล่าวประดิษฐานรูปปั้นสำริดซึ่งหล่อเป็นรูปนูนต่ำ
เป็นมุขปาฐะเล่าสืบต่อมาในชุมชน ในพื้นที่นี้มีนิทานถึงถ้ำกลางเมืองเชียงรายว่า ใต้ศาลเจ้าพ่อจอมทอง มีถ้ำ
ตั้งอยู่ ณ ม่อนจอมพล อยู่กึ่งกลางระหว่างม่อนจอมทองกับม่อนจอมแว่ (ศาลากลางหลังเก่า) บนเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่
ตั้งอยู่เชิงดอยวัดพระธาตุดอยจอมทอง บริเวณถนนไกรสรสิทธิ์ ชุมชนดอยทอง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
แนวกำแพงดินเพียงแนวเดียวที่ปรากฏร่องรอยของเมืองโบราณ ที่ยังปรากฏในพื้นที่ดอยสามเส้า
ชาวบ้านชุมชนดอยทองและราชเดชดำรงในอดีตจะใช้บ่อน้ำสวนส้มแห่งนี้ใช้อุปโภคและบริโภคทั้งหมดและใช้รดน้ำสวนส้ม
บ่อน้ำโบราณชุมดอยทอง ตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับ ศาลาที่ว่าการชุมชนดอยทอง ชุมชนดอยทอง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
คณะลิเกประพันเจริญศิลป์ ถือเป็นคณะลิเกเพียงคณะเดียวในเขตตัวเมืองเชียงราย และมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก
ตั้งอยู่ภายในวัดพระธาตุดอยจอมทอง เกิดขึ้นมาจาก ชุมชนเริ่มต้นจากการที่เป็นชุมชนค้าขายและรับจ้างเกี่ยวกับการทำดอกไม้ คนในชุมชนส่วนหนึ่งมีอาชีพขายดอกไม้